The 2-Minute Rule for วิจัยกรุงศรี

จีน: เศรษฐกิจฟื้นตัวช้าจากวิกฤตภาคอสังหาริมทรัพย์และปัญหาเชิงโครงสร้างส่วนนโยบายระหว่างประเทศหลังเลือกตั้งในไต้หวันยังสะท้อนความเสี่ยงต่อเนื่อง

ส่งออกไทยส่งสัญญาณแผ่ว ตลาดยุโรป จีน ญี่ปุ่น รัสเซีย หดตัวหนัก

การลงทุนโครงสร้างพื้นฐาน…จะมีบทบาทสำคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจโดยรวม

ปริมาณการผลิตเหล็กแผ่นรีดร้อนคาดว่าเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง การที่ไทยไม่มีการผลิตเหล็กต้นน้ำ ทำให้ต้นทุนการผลิตค่อนข้างสูง การแข่งขันในประเทศจึงเสียเปรียบเหล็กนำเข้าโดยเฉพาะจากจีน ซึ่งปรับกระบวนการผลิตเหล็กราคาถูกให้มีคุณภาพสูงขึ้น

กรุงศรีฯ คาด กนง. มีแนวโน้มลดดอกเบี้ยช่วงกลางปีนี้ กรุงศรีเผยมุมมองต่อการคงดอกเบี้ยนโยบายการเงินของ กนง.

การปรับเพิ่มค่าแรงขั้นต่ำเป็นหนึ่งในมาตรการที่จะช่วยเพิ่มรายได้ของครัวเรือนไทยโดยตรง ซึ่งวิธีนี้จะช่วยให้แรงงานระดับล่างหรือแรงงานที่มีทักษะต่ำมีรายได้เพิ่มขึ้น ขณะเดียวกันกลุ่มแรงงานที่มีรายได้สูงกว่าค่าแรงอยู่แล้วจะมีอำนาจต่อรองเพิ่มและมีโอกาสที่ค่าแรงจะเพิ่มขึ้นตามไปด้วย

ผู้ประกอบการมีแนวโน้มลงทุนขยายโครงข่ายต่อเนื่องและพัฒนารูปแบบบริการเสริมเพื่อขยายฐานผู้ใช้บริการและสร้างรายได้ในระยะยาว เช่น ลงทุนในแพลตฟอร์มสำหรับธุรกิจดิจิทัล ขยายฐานสู่ลูกค้าองค์กร และให้บริการด้านโครงข่ายเฉพาะกับอุตสาหกรรมอื่นๆ ตลอดจนเป็นพันธมิตรกับภาคธุรกิจอื่น เช่น สถาบันการเงิน ค้าปลีกและสาธารณสุข ท่ามกลางการแข่งขันด้านราคาที่มีแนวโน้มรุนแรงขึ้น และภาระต้นทุนที่จะเพิ่มขึ้นจากการลงทุนขยายโครงข่ายและการประมูลคลื่นความถี่

ความต้องการคาดว่าจะดขึ้นจากการฟื้นตัวของกิจกรรมทางเศรษฐกิจและการเติบโตของอีคอมเมิร์ซ

เศรษฐกิจไม่วิกฤตแต่โตต่ำกว่าศักยภาพ

ความต้องการใช้บริการมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น

การเปลี่ยนแปลงเชิงโครงสร้างของเศรษฐกิจโลก…มีผลต่อทิศทางธุรกิจ/อุตสาหกรรมในระยะข้างหน้า

วิจัยกรุงศรีมองว่า แม้มาตรการเพิ่มค่าแรงขั้นต่ำจะทำให้รายได้ที่แท้จริงของแรงงานในบางอุตสาหกรรมเพิ่มขึ้น แต่กลับเพิ่มเป็นสัดส่วนน้อยกว่าค่าแรงขั้นต่ำที่เพิ่มขึ้น และการเพิ่มค่าแรงขั้นต่ำโดยที่ผลิตภาพของแรงงานไม่ได้เพิ่มตามไปด้วย จะยิ่งเป็นการสร้างต้นทุนเพิ่มเติมให้แก่ภาคธุรกิจมากกว่าสร้างประโยชน์ต่อผลผลิตโดยรวม อีกทั้งอัตราเงินเฟ้อที่เพิ่มขึ้นตามค่าแรง จะซ้ำเติมปัญหาเงินเฟ้อให้แก่ภาคครัวเรือนและส่งผลให้การฟื้นตัวอย่างไม่เท่าเทียมในระบบเศรษฐกิจมีความรุนแรงมากขึ้น

ประเด็นสืบสวน ความโปร่งใสภาคธุรกิจ

ภาวะภัยแล้งจะส่งผลกระทบต่อพืชสำคัญหลายชนิด ไม่ว่าจะเป็นข้าว มันสำปะหลัง วิจัยกรุงศรี อ้อย ยางพารา ปาล์มน้ำมัน รวมถึงผลไม้ต่างๆ อาทิ มะม่วง ทุเรียน สับปะรด แต่ระดับความเสียหายจะแตกต่างกันไปตามบริบทที่แตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับประเภทของพืช พื้นที่และภูมิภาคที่เพาะปลูก ช่วงเวลาเพาะปลูก และช่วงเวลาเก็บเกี่ยวผลผลิต ยกตัวอย่างเช่นไม้ยืนต้น อาทิ ยางพารา ปาล์มน้ำมัน มะม่วง ทุเรียน โดยธรรมชาติแล้วจะสามารถทนแล้งได้นานกว่าพืชระยะสั้นหรือพืชล้มลุก แต่ปริมาณผลผลิตอาจลดลงตามพื้นที่ปลูกในแต่ละภูมิภาค แต่ในกรณีพืชล้มลุก อาทิ ข้าว มันสำปะหลัง อ้อย ข้าวโพด ผลกระทบจะแตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับช่วงฤดูเพาะปลูก ช่วงระยะเติบโต และช่วงเก็บเกี่ยว

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *